เมนูหลัก (Main)
camera_alt ภาพกิจกรรมโครงสร้างส่วนราชการ
account_box คณะผู้บริหารเมนูหลัก (Main)
camera_alt ภาพกิจกรรม volume_down ข่าวประชาสัมพันธ์ chat_bubble ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง cast ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง egp thumb_up facebook play_arrow วิดีโอกิจกรรมหน่วยงาน language หนังสือราชการกรมโครงสร้างส่วนราชการ
account_box คณะผู้บริหาร account_box สมาชิกสภา account_box หัวหน้าส่วนราชการ account_box สำนักปลัด account_box กองคลัง account_box กองช่าง account_box กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม account_box กองสวัสดิการสังคม
|
องค์การบริหารส่วนตำบล คือเวียง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา |
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
๑.ด้านกายภาพ
๑.๑ ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือตำบล
ตำบลคือเวียง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๖ โดยแยกตัวออกมาจากตำบลปินและตำบลบ้านถ้ำ ต่อมาได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์พ.ศ.๒๕๔๐
องค์การบริหารส่วนตำบลคือเวียง มีพื้นที่ทั้งหมด ๒๑,๐๑๘ไร่ หรือคิดเป็นประมาณ ๓๓.๖๓ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอำเภอดอกคำใต้และอยู่ห่างจากอำเภอเป็นระยะทางประมาณ ๑๕ กิโลเมตร
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบุญเกิด อำเภอดอกคำใต้
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลปิน อำเภอดอกคำใต้
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลบ้านถ้ำ อำเภอดอกคำใต้
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลจำป่าหวายและตำบลแม่กา อำเภอเมือง
๑.๒ ลักษณะภูมิประเทศ
มีลักษณะเป็นที่ราบสูงและภูเขาด้านทิศตะวันตกลาดเอียงไปทางทิศใต้ บางส่วนเป็นที่ราบลุ่ม ซึ่งเป็นพื้นที่ทำการเกษตรและเป็นที่อยู่อาศัย
๑.๓ ลักษณะภูมิอากาศ
มี ๓ ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
๑.๔ ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินในพื้นที่เป็นดินร่วน ดินเหนียว พื้นราบเหมาะแก่การเพาะปลูกข้าว
๒. ด้านการเมือง/การปกครอง
๒.๑ เขตการปกครอง
โดยแบ่งการปกครองออกเป็น ๙ หมู่บ้าน ซึ่งได้แก่
๒.๒การเลือกตั้ง
การเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน มีจำนวน ๙หมู่บ้าน หากมีการเลือกตั้งในครั้งหน้า จะมี ผู้บริหารท้องถิ่น (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล) จำนวน ๑ คน จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่บ้านละ 2 คน ๙หมู่บ้าน รวมเป็น ๑๘คน
๓. ประชากร
๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
จำนวนประชากรย้อนหลังในช่วง ๓ – ๕ ปี มีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง และมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น อัตราการเกิดของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชากรวัยทำงานมีจำนวนน้อยลงเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
๓.๒ช่วงอายุและจำนวนประชากร
มีประชากรทั้งสิ้น ๔,๔๑๑คน และเป็นชาย ๒,๑๗๖คน หญิง ๒,๒๓๕คน
จำนวนครัวเรือน ๑,๖๓๕ครัวเรือน มีความหนาแน่นเฉลี่ย ๑๓๑ คน ต่อตารางกิโลเมตร
๔.๑ การศึกษา
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน.
๔.๑ สาธารณสุข
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลคือเวียง / บ้านปาง จำนวน ๒ แห่ง
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐
๔.๓ อาชญากรรม
๔.๔ ยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดมีพื้นที่เฝ้าระวังบางหมู่
๔.๕ การสังคมสงเคราะห์
องค์การบริหารส่วนตำบลคือเวียง ได้รับเกียรติบัตรเป็นหน่วยงานที่สนับสนุนการบริการคนพิการดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๖
๕. การบริการพื้นฐาน
๕.๑ การคมนาคม
- จากทางหลวงหมายเลข ๑๒๕๒ (สายพะเยา - เชียงคำ) ข้างที่ว่าการอำเภอดอกคำใต้ - บ้านถ้ำ - บ้านปิน- คือเวียง ระยะทาง ๑๘ กม.
- จากทางหลวงหมายเลข ๑๒๕๒ (สายพะเยา - เชียงคำ) ทางหลวงชนบทสายบุญเรือง - บ้านเฮี้ย ระยะทาง๑๖ กม.
- จากทางหลวงหมายเลข ๑๒๕๒ (สายพะเยา - เชียงคำ) จำป่าหวาย - บ้านปาง - คือเวียง ระยะทาง ๑๖ กม.
ทั้งนี้ถนนในหมู่บ้านบางส่วนเป็นถนนลงหินคลุกและดินลูกรัง บางหมู่บ้านก็มีถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่และถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนสู่พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรังหรือถนนลงหินคลุกจำนวน ๔ตู้
๕.๒ การไฟฟ้า
- ประชากรทั้ง ๙ หมู่บ้านมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน แต่บางพื้นที่ไฟฟ้าและแสงสว่างตามถนนใหญ่และในซอยยังมีไม่ทั่วถึงและไม่เพียงพอต่อความต้องการ
๕.๓ การประปา
- ประชากรทั้ง ๙ หมู่บ้านมรประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
๕.๔ โทรศัพท์
- มีเครือข่ายสัญญาณโทรศัพท์ครอบคลุมทุกพื้นที่
๕.๕ ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง
- มีจุดบริการไปรษณีย์ ๑ จุด
๖. สภาพทางเศรษฐกิจ
๖.๑ การเกษตร
- การประกอบอาชีพของประชาชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตรเป็นหลัก ซึ่งได้แก่ การปลูกข้าว ปลูกกระเทียม ปลูกหอมแดง ข้าวโพด ถั่วเขียว ไม้ผลและพืชผักต่างๆ
๖.๒การประมง
- ประชาชนเลี้ยงปลานิลในสระน้ำตามพื้นที่การเกษตร
๖.๓ การปศุสัตว์
- ตำบลคือเวียง มีการปศุสัตว์ คือ การเลี้ยงโคเนื้อ โคขุน กระบือ ไก่เนื้อไก่ไข่ ไก่ชน และการเลี้ยงสุกร ในทุก
หมู่บ้าน
๖.๔ การบริการ
- มีร้านบริการทำผม เสริมสวย พื้นที่ หมู่ที่ ๑-๙ มีโรงสีข้าวขนาดเล็กในพื้นที่ จำนวน ๔แห่ง
๖.๕ การท่องเที่ยว
- มีพระธาตุแจ้โว เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
๖.๖ อุตสาหกรรม
- มีโรงงานยางมะตอยสำเร็จรูป จำนวน ๑ แห่ง
๖.๗ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
- ร้านค้าขายของชำ จำนวน๒๖แห่ง
- โรงสีข้าว จำนวน ๖ แห่ง
- ร้านบริการน้ำมัน จำนวน ๔ แห่ง
- ร้านเสริมสวย จำนวน ๑ แห่ง
- อู่ซ่อมรถ จำนวน ๑แห่ง
- ร้านแก๊ส จำนวน ๑ แห่ง
- ร้านทำเฟอร์นิเจอร์ จำนวน ๒แห่ง
- ร้านขายสินค้าเคมีเกษตร จำนวน ๑ แห่ง
๖.๘ แรงงาน
- ไม่มีแรงงานต่างด้าวในพื้นที่
๗. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
๗.๑ การนับถือศาสนา
- ประชาชน หมู่ที่ ๑-๙ นับถือศาสนาพุทธ และคริสต์
โดยมีข้อมูลศาสนสถาน ดังนี้
วัด มีจำนวน ๕วัด ได้แก่
๑. วัดศรีปันต้น
๒. วัดพระธาตุแจ้โว
๓. วัดศรีดอนมูล
๔. วัดทุ่งกาไชย
๕. วัดเวียงห้าวเทพนิมิตร
โบสถ์1แห่งได้แก่
บ้านทวีพร หมู่ที่ ๙ จำนวน ๑แห่ง
๗.๒ ประเพณีและงานประจำปี
- ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ งานประเพณีสรงน้ำพระธาตุแจ้โว
- ช่วงเดือนเมษายน งานบวงสรวงเจ้าพญาลื้นก่าน และงานสรงน้ำพระธาตุศรีดอนมูล
- ช่วงเดือนตุลาคม งานฉลากภัต
๗.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
มีปัญญาท้องถิ่นที่โดดเด่น คือ กลุ่มซ้อ และดนตรีพื้นเมือง
ภาษาถิ่น คือ ภาษาเมืองล้านนา
๗.๔ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกที่โดดเด่น คือ กลุ่มกล้วยฉาบ และน้ำพริก
๘. ทรัพยากรธรรมชาติ
๘.๑ น้ำ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ จำนวน ๑ แห่ง
- ลำห้วย จำนวน ๕ แห่ง
- บึง, หนองน้ำอื่น จำนวน ๑ แห่ง
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย จำนวน ๑๐แห่ง
- บ่อน้ำตื้น จำนวน ๘๘ แห่ง
๘.๒ป่าไม้
ในพื้นที่อยู่ในเขตป่าไม้เสื่อมโทรมบางส่วน
๘.๓ ภูเขา
ในพื้นที่เป็นที่ราบระหว่างภูเขา
๘.๔ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ทรัพยากรป่าไม้ค่อนข้างมีน้อย มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญคือ พระธาตุแจ้โว ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ของหมู่ที่ ๗ บ้านปางเจริญศึกษา ทั้งนี้ยังต้องมีการปรับปรุงอีกมาก ทั้งในส่วนที่เป็นถนนทางขึ้นตัวพระธาตุแหล่งที่พักของนักท่องเที่ยว ฯลฯ จึงจะสามารถพัฒนาและส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของตำบลได้
๙. อื่นๆ
๙.๑ มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน จำนวน ๒๙๕ คน
- อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.) จำนวน ๑๔๕ คน
- อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน(อสม.) จำนวน ๑๗๒ คน
- ชุดรักษาความสงบประจำหมู่บ้าน(ชรบ.) จำนวน ๒๒๕ คน
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน.
๔.๑ สาธารณสุข
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลคือเวียง / บ้านปาง จำนวน ๒ แห่ง
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐
๔.๓ อาชญากรรม
๔.๔ ยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดมีพื้นที่เฝ้าระวังบางหมู่
๔.๕ การสังคมสงเคราะห์
องค์การบริหารส่วนตำบลคือเวียง ได้รับเกียรติบัตรเป็นหน่วยงานที่สนับสนุนการบริการคนพิการดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๖
๕. การบริการพื้นฐาน
๕.๑ การคมนาคม
- จากทางหลวงหมายเลข ๑๒๕๒ (สายพะเยา - เชียงคำ) ข้างที่ว่าการอำเภอดอกคำใต้ - บ้านถ้ำ - บ้านปิน- คือเวียง ระยะทาง ๑๘ กม.
- จากทางหลวงหมายเลข ๑๒๕๒ (สายพะเยา - เชียงคำ) ทางหลวงชนบทสายบุญเรือง - บ้านเฮี้ย ระยะทาง๑๖ กม.
- จากทางหลวงหมายเลข ๑๒๕๒ (สายพะเยา - เชียงคำ) จำป่าหวาย - บ้านปาง - คือเวียง ระยะทาง ๑๖ กม.
ทั้งนี้ถนนในหมู่บ้านบางส่วนเป็นถนนลงหินคลุกและดินลูกรัง บางหมู่บ้านก็มีถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่และถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนสู่พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรังหรือถนนลงหินคลุกจำนวน ๔ตู้
๕.๒ การไฟฟ้า
- ประชากรทั้ง ๙ หมู่บ้านมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน แต่บางพื้นที่ไฟฟ้าและแสงสว่างตามถนนใหญ่และในซอยยังมีไม่ทั่วถึงและไม่เพียงพอต่อความต้องการ
๕.๓ การประปา
- ประชากรทั้ง ๙ หมู่บ้านมรประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
๕.๔ โทรศัพท์
- มีเครือข่ายสัญญาณโทรศัพท์ครอบคลุมทุกพื้นที่
๕.๕ ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง
- มีจุดบริการไปรษณีย์ ๑ จุด
๖. สภาพทางเศรษฐกิจ
๖.๑ การเกษตร
- การประกอบอาชีพของประชาชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตรเป็นหลัก ซึ่งได้แก่ การปลูกข้าว ปลูกกระเทียม ปลูกหอมแดง ข้าวโพด ถั่วเขียว ไม้ผลและพืชผักต่างๆ
๖.๒การประมง
- ประชาชนเลี้ยงปลานิลในสระน้ำตามพื้นที่การเกษตร
๖.๓ การปศุสัตว์
- ตำบลคือเวียง มีการปศุสัตว์ คือ การเลี้ยงโคเนื้อ โคขุน กระบือ ไก่เนื้อไก่ไข่ ไก่ชน และการเลี้ยงสุกร ในทุก
หมู่บ้าน
๖.๔ การบริการ
- มีร้านบริการทำผม เสริมสวย พื้นที่ หมู่ที่ ๑-๙ มีโรงสีข้าวขนาดเล็กในพื้นที่ จำนวน ๔แห่ง
๖.๕ การท่องเที่ยว
- มีพระธาตุแจ้โว เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
๖.๖ อุตสาหกรรม
- มีโรงงานยางมะตอยสำเร็จรูป จำนวน ๑ แห่ง
๖.๗ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
- ร้านค้าขายของชำ จำนวน๒๖แห่ง
- โรงสีข้าว จำนวน ๖ แห่ง
- ร้านบริการน้ำมัน จำนวน ๔ แห่ง
- ร้านเสริมสวย จำนวน ๑ แห่ง
- อู่ซ่อมรถ จำนวน ๑แห่ง
- ร้านแก๊ส จำนวน ๑ แห่ง
- ร้านทำเฟอร์นิเจอร์ จำนวน ๒แห่ง
- ร้านขายสินค้าเคมีเกษตร จำนวน ๑ แห่ง
๖.๘ แรงงาน
- ไม่มีแรงงานต่างด้าวในพื้นที่
๗. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
๗.๑ การนับถือศาสนา
- ประชาชน หมู่ที่ ๑-๙ นับถือศาสนาพุทธ และคริสต์
โดยมีข้อมูลศาสนสถาน ดังนี้
วัด มีจำนวน ๕วัด ได้แก่
๑. วัดศรีปันต้น
๒. วัดพระธาตุแจ้โว
๓. วัดศรีดอนมูล
๔. วัดทุ่งกาไชย
๕. วัดเวียงห้าวเทพนิมิตร
โบสถ์1แห่งได้แก่
บ้านทวีพร หมู่ที่ ๙ จำนวน ๑แห่ง
๗.๒ ประเพณีและงานประจำปี
- ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ งานประเพณีสรงน้ำพระธาตุแจ้โว
- ช่วงเดือนเมษายน งานบวงสรวงเจ้าพญาลื้นก่าน และงานสรงน้ำพระธาตุศรีดอนมูล
- ช่วงเดือนตุลาคม งานฉลากภัต
๗.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
มีปัญญาท้องถิ่นที่โดดเด่น คือ กลุ่มซ้อ และดนตรีพื้นเมือง
ภาษาถิ่น คือ ภาษาเมืองล้านนา
๗.๔ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกที่โดดเด่น คือ กลุ่มกล้วยฉาบ และน้ำพริก
๘. ทรัพยากรธรรมชาติ
๘.๑ น้ำ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ จำนวน ๑ แห่ง
- ลำห้วย จำนวน ๕ แห่ง
- บึง, หนองน้ำอื่น จำนวน ๑ แห่ง
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย จำนวน ๑๐แห่ง
- บ่อน้ำตื้น จำนวน ๘๘ แห่ง
๘.๒ป่าไม้
ในพื้นที่อยู่ในเขตป่าไม้เสื่อมโทรมบางส่วน
๘.๓ ภูเขา
ในพื้นที่เป็นที่ราบระหว่างภูเขา
๘.๔ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ทรัพยากรป่าไม้ค่อนข้างมีน้อย มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญคือ พระธาตุแจ้โว ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ของหมู่ที่ ๗ บ้านปางเจริญศึกษา ทั้งนี้ยังต้องมีการปรับปรุงอีกมาก ทั้งในส่วนที่เป็นถนนทางขึ้นตัวพระธาตุแหล่งที่พักของนักท่องเที่ยว ฯลฯ จึงจะสามารถพัฒนาและส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของตำบลได้
๙. อื่นๆ
๙.๑ มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน จำนวน ๒๙๕ คน
- อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.) จำนวน ๑๔๕ คน
- อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน(อสม.) จำนวน ๑๗๒ คน
- ชุดรักษาความสงบประจำหมู่บ้าน(ชรบ.) จำนวน ๒๒๕ คน
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
๑.ด้านกายภาพ
๑.๑ ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือตำบล
ตำบลคือเวียง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๖ โดยแยกตัวออกมาจากตำบลปินและตำบลบ้านถ้ำ ต่อมาได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์พ.ศ.๒๕๔๐
องค์การบริหารส่วนตำบลคือเวียง มีพื้นที่ทั้งหมด ๒๑,๐๑๘ไร่ หรือคิดเป็นประมาณ ๓๓.๖๓ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอำเภอดอกคำใต้และอยู่ห่างจากอำเภอเป็นระยะทางประมาณ ๑๕ กิโลเมตร
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบุญเกิด อำเภอดอกคำใต้
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลปิน อำเภอดอกคำใต้
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลบ้านถ้ำ อำเภอดอกคำใต้
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลจำป่าหวายและตำบลแม่กา อำเภอเมือง
๑.๒ ลักษณะภูมิประเทศ
มีลักษณะเป็นที่ราบสูงและภูเขาด้านทิศตะวันตกลาดเอียงไปทางทิศใต้ บางส่วนเป็นที่ราบลุ่ม ซึ่งเป็นพื้นที่ทำการเกษตรและเป็นที่อยู่อาศัย
๑.๓ ลักษณะภูมิอากาศ
มี ๓ ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
๑.๔ ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินในพื้นที่เป็นดินร่วน ดินเหนียว พื้นราบเหมาะแก่การเพาะปลูกข้าว
๒. ด้านการเมือง/การปกครอง
๒.๑ เขตการปกครอง
โดยแบ่งการปกครองออกเป็น ๙ หมู่บ้าน ซึ่งได้แก่
๒.๒การเลือกตั้ง
การเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน มีจำนวน ๙หมู่บ้าน หากมีการเลือกตั้งในครั้งหน้า จะมี ผู้บริหารท้องถิ่น (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล) จำนวน ๑ คน จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่บ้านละ 2 คน ๙หมู่บ้าน รวมเป็น ๑๘คน
๓. ประชากร
๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
จำนวนประชากรย้อนหลังในช่วง ๓ – ๕ ปี มีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง และมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น อัตราการเกิดของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชากรวัยทำงานมีจำนวนน้อยลงเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
๓.๒ช่วงอายุและจำนวนประชากร
มีประชากรทั้งสิ้น ๔,๔๑๑คน และเป็นชาย ๒,๑๗๖คน หญิง ๒,๒๓๕คน
จำนวนครัวเรือน ๑,๖๓๕ครัวเรือน มีความหนาแน่นเฉลี่ย ๑๓๑ คน ต่อตารางกิโลเมตร
๔.๑ การศึกษา